คนมองหนัง “The English Game” : ฟุตบอลคือการประสานประโยชน์ทางชนชั้น 30 Mar 202030 Mar 2020 นี่คือซีรี่ส์เน็ตฟลิกซ์ว่าด้วยต้นกำเนิดของ “กีฬาฟุตบอลสมัยใหม่” ในสหราชอาณาจักร ที่เปลี่ยนผ่านจากการเป็น “เกมของลูกหลานผู้ดีในโรงเรียนประจำ” มาสู่การเป็น “กีฬา/ความบันเทิงของมหาชน-ชนชั้นแรงงาน” ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวถูกบอกเล่าผ่านปฏิสัมพันธ์ฉันมิตรกึ่งศัตรู ระหว่าง “เฟอร์กัส ซูเทอร์” พ่อค้าแข้งชาวสกอตแลนด์ที่ย้ายมาเล่นฟุตบอลที่อังกฤษ ในฐานะ “นักเตะอาชีพ” รุ่นแรกๆ เพื่อเลี้ยงดูแม่และน้องๆ ซึ่งใช้ชีวิตยากลำบากที่กลาสโกว์ กับ “อาร์เธอร์ คินแนด” ทายาทตระกูลขุนนางเจ้าของธุรกิจธนาคาร ผู้เป็น “ดาวเตะ” ซึ่งแทบจะผูกขาดถ้วยเอฟเอคัพ ในยุคสมัยที่การเล่นฟุตบอลยังเป็นเพียงกีฬาสมัครเล่นของบรรดาผู้ดี แม้ “ชนชั้น” จะเป็นประเด็นหลักของซีรี่ส์เรื่องนี้ แต่โลกทัศน์ที่ “The…
ในน้ำเน่ามีเงาจันทร์ เดวิด โครเนนเบิร์ก: ซีรีส์เน็ตฟลิกซ์ = นวนิยาย, หนังฉายโรง = เรื่องสั้น 20 Jul 201820 Jul 2018 "ผมเริ่มที่จะคิดว่า บางที สื่อภาพยนตร์ที่เทียบเท่าได้กับงานเขียน 'นวนิยาย' คือ 'ซีรีส์เน็ตฟลิกซ์' ซึ่งอาจจะดำเนินเรื่องติดต่อกันยาวนาน 5 ปี หรือ 7 ปี "จริงๆ แล้ว ซีรีส์เหล่านี้คือศิลปะชนิดใหม่ ที่ไม่เหมือนกับซีรีส์โทรทัศน์ยุคเก่า ผมได้ดูซีรีส์เน็ตฟลิกซ์บางเรื่อง ซึ่งผมคิดว่ามันมีคุณภาพยอดเยี่ยมทีเดียว อย่างเช่น Babylon Berlin ของทอม ทีคแวร์ งานประเภทนี้มีทั้งความมหัศจรรย์และความคล้ายคลึงกับนวนิยาย "ผมคิดว่าบางที 'ภาพยนตร์ฉายโรง' อย่างที่พวกเรารู้จักกัน น่าจะเปรียบได้กับการเขียน 'เรื่องสั้น' แต่ถ้าคุณต้องการเขียนนวนิยาย…