คนมองหนัง: ว่าด้วย “หนัง” และ “เพลง” ที่ชอบในปี 2559/2016

หนังไทยที่ชอบ

1. ดาวคะนอง (อโนชา สุวิชากรพงศ์)

%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%81%e0%b8%95%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%a7%e0%b8%84%e0%b8%b0%e0%b8%99%e0%b8%ad%e0%b8%87

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

ข้อสังเกตสั้นๆ หลังได้ชมหนังเรื่อง “ดาวคะนอง”

รวมสกู๊ป-งานเขียนเกี่ยวกับ “ดาวคะนอง” จากมติชนสุดสัปดาห์ สองฉบับล่าสุด

ข้อสังเกตเพิ่มเติมถึง “ดาวคะนอง” (หลังดูรอบสอง): เห็ด รา และ “ประวัติศาสตร์” แบบใหม่ๆ

2. มหาสมุทรและสุสาน (พิมพกา โตวิระ)

%e0%b8%a1%e0%b8%ab%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%a1%e0%b8%b8%e0%b8%97%e0%b8%a3-%e0%b8%9a%e0%b8%a5%e0%b8%b9%e0%b8%aa%e0%b9%8c

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

(จริงๆ ชอบ “ดาวคะนอง” และ “มหาสมุทรและสุสาน” พอๆ กัน แต่เพราะ “ดาวคะนอง” สามารถสร้างปริศนาต่างๆ นานา ให้ติดค้างอยู่ในหัวหลังจากดูหนังจบได้มากกว่า เลยยกให้เป็นอันดับ 1)

3. ปั๊มน้ำมัน (ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์)

%e0%b8%9b%e0%b8%b1%e0%b9%8a%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b3%e0%b8%a1%e0%b8%b1%e0%b8%99-1

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

“ปั๊มน้ำมัน” : “จักรวาลพิเศษ” ของ “ธัญญ์วาริน”

ความเห็น/ความรู้สึก 11 ข้อ กับหนัง “ปั๊มน้ำมัน”

4. ธุดงควัตร (บุญส่ง นาคภู่)

ธุดงควัตร

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

5. ถึงคน..ไม่คิดถึง (ชาติชาย เกษนัส)

bkkmandalay

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

“ถึงคน..ไม่คิดถึง” มองความสัมพันธ์ “ไทย-พม่า” ในมุมใหม่ๆ

ความรู้สึกต่อ From Bangkok to Mandalay

6. สันติ-วีณา (มารุต-2497)

สันติ วีณา แนวนอน

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

7. ป่า (พอล สเปอร์เรียร์)

theforrest

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

8. โรงแรมต่างดาว (ปราบดา หยุ่น)

%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%87%e0%b9%81%e0%b8%a3%e0%b8%a1%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%a7

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

หนังเทศที่ชอบ

1. A Lullaby to the Sorrowful Mystery (Lav Diaz)

lullaby-to-the-sorrowful-mystery-a-2016-001-trio-in-jungle-canopy

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

ดูหนังอาเซียนในโตเกียว “การปฏิวัติ” ที่ยังไม่สิ้นสุด และ “ภาพแทนของอดีต” อันหลากหลาย

ลาฟ ดิแอซ, ตำนานปรัมปรา, และนักปลุกระดมฝูงชนชื่อ “ดูแตร์เต้”

โจเอล ซาราโช : เมื่อสามัญชนเลี้ยวออกจาก “ถนนสายปฏิวัติ” ไปสู่ “ถนนสายความเชื่อ”

2. Embrace of the Serpent (Ciro Guerra)

embrace

รู้สึกว่าหนังถ่ายทอด/ฉายภาพความสัมพันธ์ระหว่าง “เจ้าอาณานิคม” กับ “ผู้คน/ดินแดนที่ตกเป็นอาณานิคม” ได้ลุ่มลึกหลากหลายเหลี่ยมมุมดี

คือ อาจอธิบายได้ว่าความสัมพันธ์ดังกล่าวมันเป็นกระบวนการแลกเปลี่ยน “ความรู้/ของขวัญ” ระหว่างกัน ที่เต็มไปด้วยการหักเหลี่ยมเฉือนคม ไม่มีใครเป็นผู้ชนะที่เที่ยงแท้ หรือผู้พ่ายแพ้ที่ถาวร

3. POOLSIDEMAN (Hirobumi Watanabe)

poolsideman

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

4. Diamond Island (Davy Chou)

diamond-island

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

ดูหนังอาเซียนในโตเกียว “การปฏิวัติ” ที่ยังไม่สิ้นสุด และ “ภาพแทนของอดีต” อันหลากหลาย

รู้จักคนทำหนังกัมพูชา ผู้คว้ารางวัลสายนักวิจารณ์ที่คานส์

ดาวี่ ชู, Diamond Island และ “เขมรแดง” ที่หายไป

5. River of Exploding Durians (Edmund Yeo)

river

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

“River of Exploding Durians” : การต่อสู้, ประวัติศาสตร์ และหนุ่มสาวผู้ร้าวราน

พาไปดูละครจำลองเหตุการณ์ 6 ตุลา 19 ในหนังมาเลเซีย

6. Sword Master (Derek Yee)

sm-01

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

7. The Witch (Robert Eggers)

witch_ver3

หนังทำให้นึกถึงคลาสส์เรียนตอนปริญญาโท ที่อาจารย์อเมริกันคนหนึ่งตั้งข้อสังเกตว่า ผลลัพธ์ “ด้านกลับ” ประการหนึ่งจากการก่อตัว/เคลื่อนไหวของพวก Puritans ก็คือ การพยายามเข้าไปปฏิรูป/จัดการ/จัดระเบียบพวก Feast พวกงานรื่นเริงพื้นบ้าน ที่หยาบคาย กักขฬะ ตลกขบขัน ซึ่งถูกมองว่าเป็นพฤติกรรม “นอกรีต”

ทั้งๆ ที่ “ความเป็นพื้นบ้าน” เหล่านั้น มัน (เคย) สามารถถ่วงดุล/หยอกล้ออำนาจอันเคร่งขรึมของชนชั้นนำหรือคริสตจักรได้

ไปๆ มาๆ การเบียดขับ “ความเป็นพื้นบ้าน” ออกไป โดยกลุ่มปฏิรูปศาสนาที่ “เคร่งครัด” ไม่แพ้กลุ่มอำนาจทางคริสตศาสนาแบบเดิม ก็กลายมาเป็นรากฐานของการประกอบสร้าง “สังคมอเมริกัน”

8. Tea Time (Maite Alberdi)

tea time ๅ

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

9. Shin Godzilla (Hideaki Anno, Shinji Higuchi)

shingodzilla_5

ได้ดูระหว่างนั่งเครื่องบิน ปกติจะไม่ค่อยชอบดูหนังบนเครื่องบินสักเท่าไหร่ (ถึงดูก็ดูไม่จบ หรือค่อยๆ ถอดหูฟังออกสักช่วงกลางเรื่อง) เพราะจอมันเล็ก และถูกรบกวนสมาธิได้ง่าย แต่สำหรับ Shin Godzilla นี่ พอลองดูแล้ว ต้องดูต่อจนจบ

และก็เห็นตรงกันกับหลายคน ว่าเรื่องราว “ระหว่างทาง” หรือการฉายภาพกระบวนการทำงานของ “ภาครัฐ/ภาคการเมือง” ในหนังเรื่องนี้ นี่ทำออกมาได้ดีและสนุกมากๆ อย่างไม่น่าเชื่อ

10. Baahubali: The Beginning (S.S. Rajamouli)

bahubali_the_beginning_ver10_xlg

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

11. After the Curfew (Usmar Ismail-1954)

afterthecurfew

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

(เพิ่งเห็นตอนทำลิสต์ว่า หนังอินโดนีเซียเรื่องนี้ออกฉายปีเดียวกับ “สันติ-วีณา” เลย -1954/2497- และต่อมาก็กลายเป็น “หนังบูรณะ” เหมือนกันด้วย แต่ “สันติ-วีณา” คล้ายจะบูรณะออกมาได้สมบูรณ์กว่า เพราะมีฉากหนึ่งของ “After the Curfew” ฉบับบูรณะ ซึ่งออกอาการภาพเบลอร์ไม่ชัดเจน)

12. Your Name (Makoto Shinkai)

your-name

หนังมันฮิต แต่ประเด็นที่มันสื่อสารออกมาก็ “ดี” ด้วย แถมยังตีความต่อได้สนุกและหลากหลาย อย่างน้อยที่สุด นี่ไม่ใช่หนังที่บังเอิญดัง โดยไม่มีองค์ประกอบอะไรที่ดีหรือน่าสนใจเลย

หนังสั้น

1. Take Me Home (Abbas Kiarostami)

take-me-home

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

2. Mr.Zero คนหมายเลขศูนย์ (นัชชา ตันติวิทยาพิทักษ์)

คนหมายเลขศูนย์

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

3. หมอชิต (วิชชานนท์ สมอุ่มจารย์)

หมอชิต

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

4. นิมิตลวง (พิมพกา โตวิระ)

prelude font

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

5. ฝนเม็ดน้อย (บุญฤทธิ์ เวียงนนท์)

ฝนเม็ดน้อย

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

6. SHINIUMA Dead Horse (Brillante Mendoza)

deadhorse

คลิกอ่านบทความเกี่ยวข้องได้ที่นี่

นักแสดง/ตัวละครที่รัก

“ประภามณฑล เอี่ยมจันทร์” (ไลล่า) จากโรงแรมต่างดาว

%e0%b9%80%e0%b8%ad%e0%b8%b4%e0%b8%87%e0%b9%80%e0%b8%ad%e0%b8%a2-1

เมื่อได้ดูการแสดง-บุคลิกลักษณะ-อารมณ์ความรู้สึก-สีหน้าแววตาของประภามณฑลในโรงแรมต่างดาว ก็ชวนให้นึกถึงตอนได้เห็นสายป่านครั้งแรกในพลอยอยู่ไม่น้อย

“วิศรา วิจิตรวาทการ” (แอน) จากดาวคะนอง

%e0%b8%a7%e0%b8%b4%e0%b8%a8%e0%b8%a3%e0%b8%b2

ไม่แน่ใจว่าเธอแสดงหนังเก่งไหม (และเธอก็คงไม่จัดเป็นคนสวยด้วย) แต่วิธีการพูด สีหน้า ตลอดจนจังหวะการเดินเหินของเธอในหนัง มันมีเสน่ห์ดี

“แปะอิ่น” จากหนังสารคดีสั้นเรื่อง “แปะอิ่น” โดย พริมริน พัวรัตน์

แปะอิ่น

จริงๆ ถ้าใครอยากทำหนังสารคดี เรื่อยไปจนถึงโฆษณาที่ขับเน้นประเด็นเรื่องการใช้ชีวิตกับ “ความพอดี-ความพอเพียง-ความเรียบง่าย” อย่าง “สมจริง” กรณี/ไลฟ์สไตล์ของ “แปะอิ่น” คือหนึ่งในตัวอย่างที่เหมาะสมเลยนะ

“หน่อง” (อัจฉรา สุวรรณ์) ในดาวคะนอง

%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%a7%e0%b8%84%e0%b8%b0%e0%b8%99%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%87

เธอคือ “แม่บ้านมหัศจรรย์” ผู้ก้าวข้ามทุก “กาละ” และ “เทศะ” ได้อย่างชวนเหวอ!

“เจ๊มัท-ฝน” (เพ็ญพักตร์ ศิริกุล-อาภา ภาวิไล) ในปั๊มน้ำมัน

%e0%b8%9b%e0%b8%b1%e0%b9%8a%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b3%e0%b8%a1%e0%b8%b1%e0%b8%99-4

เป็นตัวละครที่แต้มเติมให้บรรยากาศซ้ำซาก จำเจ เลื่อนลอย เคว้งคว้างภายในหนัง เอ่อท้นด้วยอารมณ์ความรู้สึก

“ต้อย” (ยศวัศ สิทธิวงค์) ในมหาสมุทรและสุสาน

มหาสมุทรและสุสาน โร้ด มูฟวี่

ถ้า “เรา” เป็นคนกรุงเทพฯ ที่ดูหนังเรื่องนี้ในโรงภาพยนตร์เอสเอฟ เซ็นทรัลเวิลด์ “ต้อย” คือ ตัวละครที่เราจะสามารถทั้งหัวเราะเยาะใส่, เห็นใจอย่างยิ่ง และเข้าใจอย่างมาก ไปพร้อมๆ กัน

เพราะ “เรา” ก็คือ “ต้อย” นั่นเอง

“Musikero” (Ely Buendia) ใน A Lullaby to the Sorrowful Mystery

จริงๆ นี่เป็นตัวละครที่มีบทบาทอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆ ท่ามกลางระยะเวลายาวนานของหนัง “ลาฟ ดิแอซ”

แต่ผมกลับ “อิน” กับชะตากรรมของตัวละครรายนี้มากเป็นพิเศษ “อิน” เสียจนเวลาเขียนบทความเกี่ยวกับหนัง ก็ไม่อยากเขียนถึงเขามากนัก “อิน” จนตอนได้สัมภาษณ์ลาฟ ก็ตัดสินใจไม่ชวนคุยถึงตัวละครนักดนตรีคนนี้

ตัวละครนักดนตรีใน A Lullaby to the Sorrowful Mystery ทำให้ผมย้อนนึกถึง “ไม้หนึ่ง ก. กุนที”

โรงหนังแห่งปี

โรงหนังเฮาส์

house

จริงๆ ไม่ค่อยได้ไปดูหนังที่นี่บ่อยนัก เพราะเดินทางลำบาก แต่วิธีการจัดวางตัวเองในช่วงปลายปีของเฮาส์ ซึ่งกลายเป็นการเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาให้วงการหนังอินดี้ไทย (ทั้งในมุมคนทำและคนดู) ได้อย่างน่าชื่นชม ก็ถือเป็นเรื่องที่ควรปรบมือให้

เพลงที่ชอบ

Timothy B. Schmit

Red Dirt Road

The Island

โมเดิร์นด็อก

ดอกไม้บาน

https://www.fungjai.com/artists/moderndog/musics/bloom 

Jake Bugg

Love, Hope and Misery

โพลีแคท

เพื่อนไม่จริง

ภักดี

ปืน

https://www.fungjai.com/artists/polycat/musics/pistol

เวลาเธอยิ้ม

ตัวร้ายที่รักเธอ (เวอร์ชั่น กิ๊ฟท์ จุฑาทิพย์)

การแสดงสดที่ชอบ

การแสดงสดของ Hikaru Tanimoto ที่ VIT 33

OLYMPUS DIGITAL CAMERA

น่าทึ่ง!

คลิกอ่านรายละเอียดที่นี่

งานซ้อมโชว์-คอนเสิร์ตใหญ่ของ “ดึกดำบรรพ์ บอยแบนด์”

ดึกดำบรรพ์ บอย แบนด์ สปด.

ตามความเห็นส่วนตัว รู้สึกว่าตอนซ้อมโชว์สนุกกว่าคอนเสิร์ตใหญ่เล็กน้อย

คลิกอ่านรายละเอียดที่นี่

“อัศจรรย์…รัก” โดย ดึกดำบรรพ์ บอย แบนด์

ชมคลิป-ภาพชุดสุดประทับใจ จากการซ้อมโชว์ของวงดนตรีรุ่นเก๋า “ดึกดำบรรพ์ บอยแบนด์”

คอนเสิร์ต “ให้เธอ…เจอ ฟลุก แอร์เฮด”

OLYMPUS DIGITAL CAMERA

ออกแนวอัลเทอร์มาจีบดี 555

คลิกอ่านรายละเอียด-ชมคลิปที่นี่

โซเชียลมีเดียคนดนตรี

เฟซบุ๊กของ “กุลวัฒน์ พรหมสถิต”

kullavat

มีเกร็ดข้อมูลสนุกๆ เยอะดี แกดูเป็นคนจริงใจ ตรงไปตรงมา และที่สำคัญ มีทัศนะในหลายๆ เรื่อง ซึ่งไม่ค่อยเหมือนกับ (อดีต) ศิลปิน-นักแต่งเพลงค่ายใหญ่ส่วนมาก

Leave a Reply

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  Change )

Twitter picture

You are commenting using your Twitter account. Log Out /  Change )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  Change )

Connecting to %s

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.